วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2554

๓.ทฤษฎีความสืบเนื่อง หรือเรียกว่า จิตวิวัฒน์

๓.ทฤษฎีความสืบเนื่อง หรือเรียกว่า จิตวิวัฒน์

ต้องการชี้ให้เห็นถึงการเคลื่อนไหวหรือการมีพัฒนาการอย่างมีลำดับเป็นเหตุเป็นผล สามารถสืบสาวหาเหตุปัจจัยได้อย่างโดยชอบโดยธรรมหรือเป็นการมองอัตราการไหลของพลังงานต่อหนึ่งหน่วยเวลา เช่น เป็นแม่ค้าขายส้มอยู่ในตลาดเดียวกันโดยมีตัวแปรอื่นๆคงที่เหมือนกัน แต่แตกต่างกันที่เครื่องชั่ง ใน ๑ วันหรือ ๑ ชม.หรือ ๑ หน่วยเวลา ผู้ใดขายได้เงินมากกว่า แสดงว่าผู้นั้นไม่ดีแน่ หรือเป็นข้าราชการมีตำแหน่งหน้าที่หรือกิจการความรับผิดชอบเหมือนกันแต่โตต่างกัน ตรงนี้ชี้ให้เห็นอะไรบางอย่างที่ซ่อนเร้นหรือปกปิดอยู่ ซึ่งตรงนี้สันนิษฐานไว้ได้ว่า เป็นสิ่งชั่วร้ายหรือขัดต่อศีลธรรม หรือความชอบธรรม

(อย่าโตเร็ว เดี๋ยวคนอื่นสงสัยไปในทางเสียหาย ดิฉันแก่เป็นผู้อำนวยการ แต่ท่านอายุน้อยเป็นอธิบดีแล้ว)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม